ผู้ติดสุรา -- การดูแล]]> ผู้ติดสุรา -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ]]> การลดการดื่มสุราแบบอันตรายด้วยมาตรการเชิงนโยบายที่มีประสิทธิผลและด้วยการจัดโครงสร้างพื้นฐานที่สอดคล้องกับการนำมาตรการลงสู่การปฏิบัติการปกป้องด้วยกฎหมาย มาตรการจัดการที่ครอบคลุม และกลไกที่มั่นใจว่าได้มีการดำเนินการอย่างแท้จริง ยุทธศาสตร์ระดับโลกเพื่อลดการดื่มสุราแบบอันตราย ได้รับการรับรองโดยที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกโดยประเทศสมาชิกองค์การอนามัยโลกที่จะปฏิบัติการทุกระดับอย่างยั่งยืน และอยู่ในยุทธศาสตร์ระดับโลกและระดับภูมิภาคอื่นๆ ขององค์การอนามัยโลก ตัวอย่างเช่น แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ระดับโลกในการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ ที่รับรองโดยที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกปี ค.ศ.2008 มุ่งส่งเสริมสนับสนุนและช่วยปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับภูมิภาค โดยยึดตามความมุ่งมั่นของปฏิญญาปารีสด้านประสิทธิภาพการให้ความช่วยเหลือ (Paris Declaration on Aid Effectiveness) องค์การอนามัยโลกขอเรียกร้องต่อภาคีเพื่อการพัฒนานานาชาติทั้งหลายในการให้ความช่วยเหลือตามคำร้องขอจากประเทศที่กำลังพัฒนาในการสนับสนุนทางวิชาการเพื่อการดำเนินการและปรับปรุงทางเลือกนโยบายให้สอดคล้องกับลำดับความสำคัญของปัญหาและบริบทของประเทศ ข้อคิดเห็นร่วมในยุทธศาสตร์ระดับโลกและการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกเป็นผลจากความร่วมมือ ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน ตลอดจนหน่วยงานสาธารณสุข และสถาบันวิจัยในขณะที่ขับเคลื่อนงานไปข้างหน้า องค์การอนามัยโลกจะยังคงหาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ เพื่อพยายามให้บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์นี้
]]>
แผนงานการพัฒนาระบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุรา (ผรส.)
]]>
2011-06-01]]> 2011-06-01]]> กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
]]>
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)]]> ]]> PDF]]> Thai]]> คู่มือ]]>
เป็นผู้จัดการแผนงาน เพื่อพัฒนาระบบ รูปแบบและวิธีการบำบัดรักษาผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ที่เหมาะกับบริบทสังคมไทย โดยบูรณาการระบบ เข้าสู่ระบบบริการสุขภาพที่มีอยู่เดิม และพัฒนาเครือข่ายบริการทั้งในและนอกระบบสาธารณสุข ผ่านการมีส่วนร่วมดำเนินงานจากภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกระบบสุขภาพ เพื่อช่วยกันขับเคลื่อนการดูแลแก้ไขปัญหาสุรา รวมทั้งสามารถเพิ่มช่องทางการเข้าถึงบริการของผู้มีปัญหาการดื่มสุราที่หลากหลายมากขึ้นการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายได้รับการสนับสนุนจากแผนงานผรส. ทั้งในระบบบริการสุขภาพปกติ ตั้งแต่ระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลจิตเวช โรงพยาบาลธัญญารักษ์และความร่วมมือจากระบบการบำบัดฟื้นฟูทางเลือกในชุมชนไม่ว่าจะเป็นวัด พระสงฆ์ องค์กรศาสนา เครือข่ายภาคประชาชนเครือข่ายผู้มีปัญหาการดื่มสุราที่สามารถเลิกสุราได้สำเร็จ แกนนำชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนเครือข่ายระบบยุติธรรมและระบบสถานประกอบการ ซึ่งช่วยการขับเคลื่อนสนับสนุนการดำเนินงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ ทำให้การพัฒนาระบบ รูปแบบการดูแลช่วยเหลือผู้มีปัญหาการดื่มสุราเจริญก้าวหน้าและพัฒนาขึ้นตามลำดับตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาครึ่งทศวรรษของแผนงานการ
พัฒนาระบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุรา (ผรส.) ได้มีการศึกษาทั้งการทบทวนองค์ความรู้ การถอดบทเรียน การแปลเอกสารจากต่างประเทศ การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบ รูปแบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุรา แต่ยังมีการจัดการองค์ความรู้ (KM.) น้อย นับว่าเป็นโอกาสที่ดีที่ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งภายใต้โครงการจัดการองค์ความรู้“ทศวรรษกลุ่มแผนงานแอลกอฮอล์” แผนงานผรส.ขอขอบคุณศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศวส.) และบุคลากรของศวส.ทุกท่าน ที่ให้การสนับสนุนการจัดการองค์ความรู้ดังกล่าว ขอขอบคุณภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกระบบสุขภาพทุกท่าน ที่เป็นกำลังสำคัญในการช่วยกันขับเคลื่อน พัฒนาระบบ รูปแบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราในสังคมไทยอย่างไรก็ตามความท้าทายในอนาคตที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อกระบวนการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุรา จึงยังมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่องทั้งรูปแบบและวิธีการที่สามารถให้การช่วยเหลือผู้มีปัญหาการดื่มสุรา ในการเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลด ละ เลิก การดื่มสุราต่อไป]]>
แผนงานการพัฒนาระบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุรา (ผรส.)
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)]]>
2014-11-01]]> 2014-11-01]]> PDF]]> Thai]]> หนังสือ]]>
Alcoholism -- diagnosis -- Handbooks

]]>
Smoking -- diagnosis -- Handbooks
]]>
Substance-Related Disorders -- diagnosis -- Handbooks
]]>
การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ -- แบบประเมิน
]]>
การสูบบุหรี่ -- แบบประเมิน
]]>
ยาเสพติด -- แบบประเมิน]]>
]]>
แผนงานการพัฒนาระบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุรา (ผรส.)
]]>
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
]]>
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)]]> 2011-11-01]]> Thai]]> คู่มือ]]>
สุรา]]> สารเสพติด]]> การคัดกรอง]]> การบำบัด]]>
เนื้อหาในคูมื่อนี้ประกอบด้วย ความรูพื้นฐานของเมทแอมเฟตามีน วิธีการคัดกรองและให้การบำบัดแบบสั้นตามรูปแบบการดูแลตามลำดับขั้น (stepped cate model) ตลอดจนวิธีการนำหลักการเสริมสร้างแรงจูงใจ (motivational interviewing) มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิผลของการบำบัดแบบสั้น คู่มือนี้ยังแนะนำวิธีการนำชุดสื่อการสอนนี้ไปใช้เพื่อเป็นสื่ออบรมและให้ข้อมูลช่วยในการวางแผนและการจัดการฝึกอบรมอีกด้วย]]>
อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์]]> พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์]]> 2018-03]]> 2018-03]]> สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)]]> กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข]]> หนังสือ]]> Thai]]> PDF]]>

กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต จึงได้จัดทำคู่มือโปรแกรมบูรณาการการบำบัดรักษาฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยสุรา/ยา/สารเสพติดที่มีโรคร่วมทางจิตเวช (ICOD-R) ฉบับปรับปรุง เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยสุราและสารเสพติดที่มีโรคร่วมทางจิตเวช ให้ได้รับการบำบัดรักษาอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจนสามารถกลับไปใช้ชีวิตโดยพึ่งพาตนเองได้ ตลอดจนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างปกติ]]>
กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ]]> 2021-10-06]]> 2021-10-06]]> PDF]]> Thai]]> คู่มือ]]>
กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต]]> 2021-10-25]]> PDF]]> Thai]]> คู่มือ]]> กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต]]> 2021-10-24]]> 2021-10-24]]> PDF]]> Thai]]> แผ่นพับ]]> พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์]]> 2011-08-01]]> 2011-08-01]]> สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)]]> กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข]]> PDF]]> Thai]]> หนังสือ]]>