เมื่อร่างกายเตือนภัยผิดพลาด : ภาวะตื่นตระหนกหลังประสบเหตุ
Dublin Core
Description
ทำไมถึงเกิดขึ้น? หลังจากเหตุการณ์สะเทือนใจ เช่น แผ่นดินไหว หรืออุบัติเหตุ ร่างกายอาจเกิดอาการเช่น: ใจสั่น, หายใจถี่, แน่นหน้าอก, รู้สึกหวาดกลัวรุนแรง
แม้จะไม่มีอันตรายจริง แต่สมองยังเข้าใจว่า “เรายังไม่ปลอดภัย” พอเจอสิ่งที่คล้ายกับเหตุการณ์เดิม เช่น เสียงหรือภาพ ร่างกายก็จะตอบสนองเหมือนกับกำลังเจอภัยอีกครั้ง
วิธีช่วยตัวเองเบื้องต้น
- หายใจลึก ๆ ช้า ๆ ช่วยให้ร่างกายสงบ
- ค่อย ๆ เผชิญสิ่งที่กลัว ทีละนิด แทนการหลีกเลี่ยง
- เปลี่ยนความคิด จาก “ฉันจะไม่รอด” เป็น “นี่แค่ร่างกายตกใจ เดี๋ยวก็หาย”
สิ่งที่ควรรู้
- ภาวะนี้พบได้บ่อยหลังเหตุการณ์สะเทือนใจ และไม่แปลว่ามีปัญหาสุขภาพจิตรุนแรง
- สามารถรักษาให้ดีขึ้นได้ ยิ่งได้รับการช่วยเหลือเร็ว ยิ่งฟื้นตัวไว
ขอความช่วยเหลือได้ที่ สายด่วนสุขภาพจิต 1323 และศูนย์เยียวยาจิตใจ 1667 (ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง) กรมสุขภาพจิตพร้อมดูแลคุณทุกสถานการณ์
When the Body Sends False Alarms: Post-Traumatic Panic
Why does it happen?
After a traumatic event like an earthquake or an accident, your body may react with symptoms such as:
- Rapid heartbeat
- Shortness of breath
- Chest tightness
- Intense fear
Even when there’s no real danger, your brain still thinks "I'm not safe yet." When triggered by reminders—like sounds or images—your body reacts as if the danger is happening again.
Ways to Cope
- Breathe deeply and slowly – Helps calm your body.
- Gradually face your fears – Take small steps instead of avoiding them.
- Reframe your thoughts – Shift from "I won’t survive" to "This is just my body’s alarm—it will pass."
What You Should Know
- This is a common reaction after trauma and doesn’t mean you have a severe mental health condition.
- Recovery is possible—the sooner you seek help, the faster you heal.
Where to Get Help
- Mental Health Hotline: 1323
- Psychosocial Support Center: 1667
(24/7 service)
The Department of Mental Health is always here for you
แม้จะไม่มีอันตรายจริง แต่สมองยังเข้าใจว่า “เรายังไม่ปลอดภัย” พอเจอสิ่งที่คล้ายกับเหตุการณ์เดิม เช่น เสียงหรือภาพ ร่างกายก็จะตอบสนองเหมือนกับกำลังเจอภัยอีกครั้ง
วิธีช่วยตัวเองเบื้องต้น
- หายใจลึก ๆ ช้า ๆ ช่วยให้ร่างกายสงบ
- ค่อย ๆ เผชิญสิ่งที่กลัว ทีละนิด แทนการหลีกเลี่ยง
- เปลี่ยนความคิด จาก “ฉันจะไม่รอด” เป็น “นี่แค่ร่างกายตกใจ เดี๋ยวก็หาย”
สิ่งที่ควรรู้
- ภาวะนี้พบได้บ่อยหลังเหตุการณ์สะเทือนใจ และไม่แปลว่ามีปัญหาสุขภาพจิตรุนแรง
- สามารถรักษาให้ดีขึ้นได้ ยิ่งได้รับการช่วยเหลือเร็ว ยิ่งฟื้นตัวไว
ขอความช่วยเหลือได้ที่ สายด่วนสุขภาพจิต 1323 และศูนย์เยียวยาจิตใจ 1667 (ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง) กรมสุขภาพจิตพร้อมดูแลคุณทุกสถานการณ์
When the Body Sends False Alarms: Post-Traumatic Panic
Why does it happen?
After a traumatic event like an earthquake or an accident, your body may react with symptoms such as:
- Rapid heartbeat
- Shortness of breath
- Chest tightness
- Intense fear
Even when there’s no real danger, your brain still thinks "I'm not safe yet." When triggered by reminders—like sounds or images—your body reacts as if the danger is happening again.
Ways to Cope
- Breathe deeply and slowly – Helps calm your body.
- Gradually face your fears – Take small steps instead of avoiding them.
- Reframe your thoughts – Shift from "I won’t survive" to "This is just my body’s alarm—it will pass."
What You Should Know
- This is a common reaction after trauma and doesn’t mean you have a severe mental health condition.
- Recovery is possible—the sooner you seek help, the faster you heal.
Where to Get Help
- Mental Health Hotline: 1323
- Psychosocial Support Center: 1667
(24/7 service)
The Department of Mental Health is always here for you
Publisher
สำนักความรอบรู้สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต
Date
Format
Language
Type
Date Copyrighted
License
Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Rights Holder
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
Social Bookmarking
Position: 167 (2885 views)