Browse Items (1422 total) Browse All Browse by Tag Search Items Browse References Language is exactly "Thai" of 178 Next Page Sort by: TitleCreatorDate Added ช่วยผู้อื่นได้ดี เมื่อดูแลตัวเองเป็น 3 ขั้นตอนการดูแลตัวเอง สำหรับเจ้าหน้าที่ภาคสนามในสถานการณ์แผ่นดินไหว 1. ก่อนลงพื้นที่... เตรียมตัวให้พร้อม • ศึกษาพื้นที่เสี่ยง เช่น จุดเสี่ยงดินถล่ม อาคารพัง หรืออาฟเตอร์ช็อก • เช็กสุขภาพตัวเอง ทั้งร่างกายและจิตใจ พร้อมรับมือหรือไม่? •… Tags: ภัยพิบัติ, แผ่นดินไหว Position: 490 (1221 views) การพัฒนาแนวทางการปฎิบัติงานเลขานุการผู้บริหารระดับสูง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการปฏิบัติงานเลขานุการผู้บริหารระดับสูง โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธีและประยุกต์ใช้กระบวนการจัดการความรู้ตามแนวคิด SECI Model ดำเนินการวิจัยเป็น 4 ระยะ ได้แก่ 1) การแลกเปลี่ยนและรวบรวมความรู้ 2)… Tags: SECI Model, การจัดการความรู้, เลขานุการผู้บริหาร, แนวทางการปฏิบัติงาน Position: 682 (931 views) ตึกอาจนิ่งแล้ว... แต่ใจยังสั่นอยู่ ชวนดูแลใจหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวของคนอยู่ในอาคารสูง รู้ไหม... อาการแบบนี้ เป็นเรื่องปกติหลังผ่านเหตุการณ์รุนแรง • ใจสั่น หวิวๆ เวลาอยู่บนตึก • ระแวงทุกครั้งที่ลิฟต์สั่น / รถไฟฟ้าผ่าน • กลัวว่าตึกจะสั่นอีก • ไม่กล้าขึ้นอาคารสูง • นอนไม่หลับ… Tags: ภัยพิบัติ, แผ่นดินไหว Position: 477 (1246 views) เทคนิค 5-4-3-2-1 พาสติและใจกลับมาอยู่กับปัจจุบัน - เริ่มต้นด้วยการบอกตัวเองเบา ๆ ว่า “ตอนนี้เราปลอดภัย” จากนั้นให้โฟกัสที่ลมหายใจ หายใจเข้าทางจมูก ลึกและช้า แล้วผ่อนออกเบา ๆ ทางปาก - แล้วค่อย ๆ ใช้ประสาทสัมผัสของคุณตามขั้นตอนนี้ 5 อย่างที่มองเห็น :… Tags: ภัยพิบัติ, แผ่นดินไหว Position: 557 (1110 views) 5 เหตุผลที่ควรกลับไปทำกิจวัตรประจำวันโดยเร็ว หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหว “ชีวิตยังคงดำเนินต่อไป เมื่อเรากลับสู่ความปกติในแบบของเรา” 1. ช่วยให้สมองรู้สึก “ควบคุมได้” ในช่วงวิกฤต สมองมักรู้สึกว่าทุกอย่างเกินควบคุม การกลับไปทำสิ่งคุ้นเคย เช่น อาบน้ำตอนเช้า ดื่มกาแฟถ้วยเดิม หรือจัดห้องนอนให้เรียบร้อย เป็นการส่งสัญญาณว่า “เรายังจัดการชีวิตของตัวเองได้” 2.… Tags: ภัยพิบัติ, แผ่นดินไหว Position: 227 (2342 views) เมื่อคุณรู้สึกว่า...อาจจะเกิดแผ่นดินไหว 1. หยุดกิจกรรม หายใจลึกๆ ช้าๆ 1 ครั้ง เพื่อช่วยให้คุณตั้งสติและประเมินสถานการณ์ได้ดีขึ้น 2. สังเกตของรอบตัวที่อาจแกว่งได้ เช่น โคมไฟ แก้วน้ำ ขวดน้ำ เพื่อดูว่ามีการสั่นไหวจริงหรือไม่ • ถ้าไม่มีอะไรเคลื่อนไหว / ไม่แน่ใจ ให้นั่งพัก… Tags: ภัยพิบัติ, แผ่นดินไหว Position: 178 (2708 views) เมื่อร่างกายเตือนภัยผิดพลาด : ภาวะตื่นตระหนกหลังประสบเหตุ ทำไมถึงเกิดขึ้น? หลังจากเหตุการณ์สะเทือนใจ เช่น แผ่นดินไหว หรืออุบัติเหตุ ร่างกายอาจเกิดอาการเช่น: ใจสั่น, หายใจถี่, แน่นหน้าอก, รู้สึกหวาดกลัวรุนแรง แม้จะไม่มีอันตรายจริง แต่สมองยังเข้าใจว่า “เรายังไม่ปลอดภัย” พอเจอสิ่งที่คล้ายกับเหตุการณ์เดิม… Tags: ภัยพิบัติ, แผ่นดินไหว Position: 168 (2870 views) กังวลมากไปหรือกังวลน้อยไป...ก็เป็นปัญหาได้นะ หลายคนได้เคยประสบกับแผ่นดินไหวครั้งแรกจากเหตุการณ์ครั้งล่าสุดที่เกิดขึ้น แม้เหตุการณ์จะเกิดขึ้นเพียงระยะเวลอันสั้น แต่ก็เพียงพอให้เกิดความตื่นตระหนก หลายคนรีบวิ่งออกจากบ้าน วิ่งลงจากตึกเป็นสิบชั้น ทั้งที่บางคนไม่แน่ใจด้วยซ้ำว่าเกิดอะไรขึ้น… Tags: ความกังวล, ภัยพิบัติ, แผ่นดินไหว Position: 133 (3378 views) of 178 Next Page Output Formats atom, dc-rdf, dcmes-xml, json, omeka-xml, rss2